วันพุธที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2554

แนวข้อสอบตำรวจ 2555 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

แนวข้อสอบ
พระราชฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546  มีกี่หมวด กี่มาตรา
                ก.  หมวด  53  มาตรา                                   ข.  หมวด  52  มาตรา
                ค.  หมวด  54  มาตรา                                   ง.  8  หมวด  54  มาตรา
ตอบ  ก.  หมวด  53  มาตรา
2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546  ให้ไว้  ณ  วันที่เท่าใด 
ก.  9  มกราคม  2546                                         ข.  ตุลาคม  2546
ค.  9  กุมภาพันธ์  2546                                    ง.  พฤศจิกายน  2546
ตอบ  ข.  ตุลาคม  2546
3. พระราชกฤษฎีกานี้  เรียกว่า
ก.  พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 
ข.  พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2545
ค.  พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 
ง.  พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2547
ตอบ  ค.  พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546     
4. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546  นี้ใช้บังคับตั้งแต่
ก.  วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข.  ก่อนวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค.  วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง.  ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ  ค.  วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
5. การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้  จะปฏิบัติเมื่อใดและต้องมีเงื่อนไขอย่างใดให้เป็นไปตามที่ผู้ใดกำหนด
ก.  เลขาธิการรัฐมนตรีกำหนด                         ข.  เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกำหนด
ค.  นายกรัฐมนตรีกำหนด                                 ง.  คณะรัฐมนตรีกำหนด
ตอบ  ง.  คณะรัฐมนตรีกำหนด  (มาตรา 3)
6. การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้  จะปฏิบัติเมื่อใด  และต้องมีเงื่อนไขอย่างใดให้เป็นไปตามที่ผู้ใดเสนอ
ก.  ก.พ.ร.                                                             ข.  ครม.
ค.  กกต.                                                                                ง.  สตง.
ตอบ  ก.  ก.พ.ร.  (มาตรา 3)

7. ตามพระราชกฤษฎีกานี้  คำว่า  ส่วนราชการ  หมายถึง
ก.  ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง  กระทรวง  ทบวง  กรม
ข.  หน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของส่วนราชการฝ่ายบริหาร
ค.  ถูกทั้งข้อ  ก.  และ  ข.
ง.  ไม่มีข้อใดถูก                        
ตอบ  ค.  ถูกทั้งข้อ  ก.  และ  ข.  (มาตรา 4)

8. ตามพระราชกฤษฎีกานี้  คำว่า  ส่วนราชการ  ไม่รวมถึง
ก.  องค์การบริหารส่วนจังหวัด                        ข.  การปกครองส่วนภูมิภาค
ค.  การปกครองส่วนกลาง                                ง.  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตอบ  ง.  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  (มาตรา 4)

9. ตามพระราชกฤษฎีนี้  คำว่า  รัฐวิสาหกิจ  หมายความว่าอย่างไร
ก.  รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ
ข.  รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกา
ค.  รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยกฎกระทรวง
ง.  ถูกหมดทั้ง  ก.  และ  ข.
ตอบ  ง.  ถูกหมดทั้ง  ก.  และ  ข.

10. ตามพระราชกฤษฎีกานี้  คำว่า  ราชการ  ตามพระราชกฤษฎีกานี้หมายความรวมถึงใครบ้าง
ก.  พนักงาน                                                        ข.  ลูกจ้าง
ค.  ผู้ปฏิบัติงานในส่วนราชการ                       ง.  ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ  (มาตรา 4)

11. ใครเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ก.  นายกรัฐมนตรี                                                               ข.  รองนายกรัฐมนตรี
ค.  คณะรัฐมนตรี                                                                ง.  ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ตอบ  ก.  นายกรัฐมนตรี  (มาตรา 5)




ส่วนบนของฟอร์ม
หน่วยงาน : ตำรวจ
ตำแหน่ง งาน : ตำรวจชั้นประทวน (สายอำนวยการ)
ข้อสอบปี : 2552
วิชา : ข้อสอบ พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านมืองที่ดี พ.ศ.2546
จำนวนข้อทั้งหมด : 40
ส่วนล่างของฟอร์ม
0

0/40



คำถามข้อที่ 1. ข้อใดมิใช่ส่วน ราชการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี พ.ศ. 2546

1.
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 

2.
กระทรวง
 

3.
จังหวัด

 

4.
หน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ใน กำกับของฝ่ายบริการ
 

5.
ข้อ 1 และข้อ 3
 

เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 1


คำถามข้อ ที่ 2. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการ เพื่อบรรลุเป้าหมายดังต่อไปนี้ ข้อใดมิใช่

1.
มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้ม ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
 

2.
ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกิน ความจำเป็น
 

3.
 มีการปรับปรุงภารกิจส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์

 

4.
มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ อย่างสม่ำเสมอ

5.
ทุกข้อคือเป้าหมายของการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี
 

เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5


คำถามข้อ ที่ 3. ข้อใดต่อไปนี้มิใช่วัตถุประสงค์ของการบริหารราชการเพื่อ ประโยชน์ของประชาชน

1.
การปฏิบัติราชการที่มีเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความผาสุก
 

2.
การปฏิบัติราชการเพื่อความเป็น อยู่ที่ดีของประชาชน
 

3.
การปฏิบัติราชการเพื่อความสงบ และปลอดภัยของประชาชนส่วนรวม
 

4.
การปฏิบัติราชการเพื่อประโยชน์ สุขของประเทศ
 

5.
การปฏิบัติราชการเพื่อความเจริญ รุ่งเรืองของประเทศ
 



เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5


คำถามข้อ ที่ 4.
ข้อใดมิใช่แนวทางของการบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน

1.
ต้องเป็นไปโดยซื่อสัตย์ สุจริต สามารถตรวจสอบได้
 

2.
ก่อนเริ่มดำเนินการส่วนราชการจะ ต้องให้มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดี ผลเสียให้ครบทุกด้าน
 

3.
ข้าราชการจะต้องคอยรับฟังความ คิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมและประชาชนผู้ใช้บริการ
 

4.
ในกรณีที่เกิดปัญหา และอุปสรรคจากการดำเนินการให้ส่วนราชการแก้ไขปัญหาอุปสรรคนั้นโดยเร็ว
 

5.
เป็นแนวทางหมดทุกข้อ
 



เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5


คำถามข้อ ที่ 5.
ข้อใดมิใช่แนวทางบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ

1.
การจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้ เป็นการล่วงหน้า
 

2.
การปฏิบัติราชการมีหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด
 

3.
การให้ส่วนราชการมีหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด
 

4.
การบริหารราชการโดยยึดหลัก ประชาชนเป็นศูนย์กลาง
 

5.
การพัฒนาส่วนราชการให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 4


คำถามข้อ ที่ 6.
หน่วยงานใดต่อไปนี้มีหน้าที่ร่วมกันจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดินเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ข้อใดมิใช่

1.
สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
 

2.
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
 

3.
สำนักงาน ก.พ.ร.
 

4.
สำนักงานงบประมาณ
 

5.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 



เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 3



คำถามข้อ ที่ 7. เมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาหน่วยงานที่มีหน้าที่ จัดทำแผนการบริหารงานราชการแผ่นดินต้องเสนอแผนให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาภายใน กี่วัน

1.
30 วัน
 

2.
45 วัน
 

3.
60 วัน
 

4.
90 วัน
 

5.
120 วัน
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 4


คำถามข้อ ที่ 8. แผนการบริหารราชการแผ่นดินไม่ผูกพันกับองค์กรใด ต่อไปนี้

1.
กรุงเทพมหานคร
 

2.
คณะรัฐมนตรี
 

3.
รัฐมนตรี
 

4.
กระทรวง
 

5.
ผูกพันทุกข้อที่กล่าวมา
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 1



คำถามข้อ ที่ 9. ข้อใดมิใช่สาระสำคัญของแผนการปฏิบัติราชการ

1.
 มีการกำหนดเป้าหมาย
 

2.
มีการกำหนดผลสัมฤทธิ์ของงาน ส่วนราชการและบุคคลที่รับผิดชอบภารกิจ
 

3.
กำหนดแนวทางการปฏิบัติงาน  

4.
กำหนดระยะเวลาการดำเนินงานและ การประเมินผล
 

5.
มีการประมาณรายได้และรายจ่าย และทรัพยากรต่างๆที่จะต้องจ่าย
 



เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 3



คำถามข้อ ที่ 10. หน่วยงานใดต่อไปนี้มีหน้าที่จัดทำแผนนิติบัญญัติ

1.
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
 

2.
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
 

3.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
 

4.
ข้อ 1. และข้อ 2.
 

5.
ข้อ 2. และข้อ 3.
 



เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 4



คำถาม ข้อที่ 11. การจัดทำแผนปฏิบัติราชการจะต้องนำแนวทางนโยบายของรัฐบาล ที่แถลงต่อรัฐสภามาพิจารณาดำเนินการให้สอดคล้องกับ ...........?
1.
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
 

2.
แผนพัฒนาประเทศด้านต่างๆที่ เกี่ยวข้อง
 

3.
แนวทางพระราชดำรัสองค์พระมหา กษัตริย์
 

4.
1 และ 2
 

5.
1 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 4


คำถามข้อ ที่ 12. สำนักงบประมาณจะจัดสรรงบประมาณให้แก่ส่วนราชการก็ต่อเมื่อ ปฏิบัติราชประจำปีของส่วนราชการได้รับความเห็นชอบจาก.....
1.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 

2.
คณะรัฐมนตรี
 

3.
รัฐสภา
 

4.
รัฐมนตรีเจ้าสังกัด
 

5.
ก.พ.ร.
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 4


คำถามข้อ ที่ 13. เมื่อสิ้นปีงบประมาณส่วนราชการจะต้องทำรายงานใดเสนอแก่คณะรัฐมนตรี

1.
รายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผน ปฏิบัติราชการประจำปี
 

2.
รายงานการใช้จ่ายงบประมาณ
 

3.
รายงานประเมินผลการปฏิบัติตาม แผนปฏิบัติราชการประจำปี
 

4.
รายงานตัวชี้วัดแห่งความสำเร็จ
 

5.
รายงานปัญหาและอุปสรรคตลอดถึง แนวทางแก้ไขตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 1



คำถามข้อ ที่ 14. การโอนงบประมาณจากภารกิจหนึ่งตามที่กำหนดในแผนปฏิบัติราชการ ไปดำเนินการอย่างอื่น ซึ่งมีผลทำให้ภารกิจเดิมไม่บรรลุเป้าหมายหรือนำไปใช้ในภารกิจใหม่ที่มิได้ กำหนดในแผนปฏิบัติราชการจะกระทำได้หรือไม่
1.
ไม่สามารถกระทำได้
 

2.
สามารถกระทำได้โดยอนุมัติคณะ รัฐมนตรี
 

3.
สามารถกระทำได้โดยอนุมัติ รัฐมนตรีเจ้าสังกัด
 

4.
สามารถกระทำได้โดยอนุมัติ ก.พ.ร.
 

5.
สามารถกระทำได้โดยอนุมัติรอง ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ หรือปลัดกระทรวงแล้วแต่กรณี
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 2


คำถามข้อ ที่ 15. การปรับแผนปฏิบัติราชการมีผลให้โอนงบประมาณจากภารกิจหนึ่งไป ดำเนินการอย่างอื่นซึ่งมีผลทำให้ภารกิจเดิมไม่บรรลุเป้าหมายจะทำได้เฉพาะ กรณีที่....?
1.
ภารกิจนั้นไม่อาจดำเนินการตาม วัตถุประสงค์ต่อไปนี้
 

2.
ภารกิจนั้นหมดความจำเป็นหรือไม่ เป็นประโยชน์หรือหากดำเนินการต่อไปจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเกินความจำเป็น
 

3.
มีความจำเป็นอย่างอื่นมิอาจหลีก เลี่ยงได้ที่จะต้องเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการ
 

4.
2 และ 3

5.
1 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5


คำถามข้อ ที่ 16. การจัดทำบัญชีต้นทุน ในการบริการสาธารณะแต่ละประเภทเป็นไปเพื่อ 

1.
ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
 

2.
ประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ
 

3.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
 

4.
2 และ 3
 

5.
1 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 3



คำถามข้อ ที่ 17. การจัดทำบัญชีต้นทุนในการบริการสาธารณะ ต้องจัดทำตามหลักเกณฑ์หรือหน่วยงานใด กำหนด
1.
สำนักงบประมาณ
 

2.
สำนักงาน ก.พ.ร.
 
3.
กระทรวงการคลัง
 

4.
กรมบัญชีกลาง
 

5.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 4


คำถามข้อ ที่ 18. เมื่อส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วยงานของงานบริการสาธารณะ ที่มีอยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการแล้วเสร็จ ต้องรายงานให้หน่วยงานใดทราบ
1.
สำนักงบประมาณ
 

2.
กรมบัญชีกลาง
 

3.
ก.พ.ร.
 

4.
1 และ 2
 

5.
1 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5




คำถามข้อ ที่ 19. หน่วยงานใดมีหน้าที่ประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจ ของรัฐที่ส่วนราชการได้ดำเนินการ
1.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 

2.
สำนักงบประมาณ
 

3.
สำนักงาน ก.พ.ร.
 

4.
1 และ 2
 

5.
1  2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 4


คำถามข้อ ที่ 20. ในการประเมินความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐให้คำนึงถึง
1.
ประเภทและสภาพของแต่ละภารกิจ
 

2.
ความเป็นไปได้ของภารกิจหรืองาน โครงการที่ได้ดำเนินการ
 

3.
ประโยชน์ที่รัฐและประชาชนจะพึง ได้และรายจ่ายที่ต้องเสียไปก่อนและหลังที่ส่วนราชการได้ ดำเนินการ
 

4.
 2 และ3
 

5.
1 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5


คำถาม ข้อที่ 21. การจัดซื้อจัดจ้างในกรณีใดสามารถกระทำได้โดยไม่ต้องถือ ราคาต่ำสุด

1.
การจัดซื้อจัดจ้างมีวัตถุ ประสงค์ในการใช้ที่ต้องคำนึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษาเป็นสำคัญ
 

2.
การจัดซื้อจัดจ้างเครื่องมือ อิเล็กทรอนิกส์
 

3.
การจัดซื้อจัดจ้างนวัตกรรมใหม่ ที่มีผู้ผลิตน้อยราย
 

4.
การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าตาม บัญชีมาตรฐานอุตสาหกรรม
 

5.
การจัดซื้อจัดจ้างที่ต้องคำนึง ถึงประโยชน์และผลเสียทางสังคม
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 1


คำถามข้อ ที่ 22. การจัดซื้อจัดจ้างต้องดำเนินการโดย

1.
เปิดเผยและเที่ยงธรรม
 

2.
พิจารณาถึงประโยชน์ และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ และวัตถุประสงค์ที่จะใช้
 

3.
พิจารณาถึงราคาและประโยชน์ระยะ ยาวของส่วนราชการที่ได้รับประกอบกัน
 

4.
1 และ 3
 

5.
1 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5


คำถามข้อ ที่ 23. ในการปฏิบัติภารกิจใด หากส่วนราชการจำเป็นต้องได้รับอนุมัติ อนุญาต หรือขอความเห็นจากส่วนราชการอื่น ส่วนราชการที่มีอำนาจพิจารณา ต้องแจ้งผลการพิจารณาให้ส่วนราชการที่ยื่นคำขอ ทราบภายในกี่วัน

1.
7 วัน
 

2.
15 วัน หรือตามที่ส่วนราชการที่มีอำนาจประกาศกำหนด
 

3.
30 วัน หรือตามที่ส่วนราชการที่มีอำนาจประกาศกำหนด
 

4.
30 วัน และสามารถขยายได้อีก 30 วัน หรือตามที่กฎหมายเฉพาะกำหนด
 

5.
15 วัน และสามารถขยายได้อีกไม่เกิน 30 วัน หรือตามที่กฎหมายกำหนด
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 2


คำถามข้อ ที่ 24. ข้อใดมิใช่หลักในการวินิจฉัยปัญหาของส่วนราชการในรูปแบบของ คณะกรรมการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้าน เมืองที่ดี พ.ศ. 2546

1.
การตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหา ให้ดำเนินการได้เท่าที่จำเป็นอันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
 

2.
เมื่อคณะกรรมการมีมติเป็นประการ ใดแล้วให้มติของคณะกรรมการผูกพันส่วนราชการ ซึ่งมีผู้แทนร่วมเป็นกรรมการอยู่ด้วยแม้ว่าผู้แทนส่วนราชการที่เป็นกรรมการ จะมิได้เข้าร่วมการพิจารณาวินิจฉัยก็ตาม
 

3.
มติของคณะกรรมการผูกพันกับส่วน ราชการที่มีตัวแทนเป็นกรรมการ ยกเว้นการวินิจฉัยในปัญหาด้านกฎหมาย
 

4.
ถ้ามีความเห็นแตกต่างกันสองฝ่าย ให้บันทึกเหตุผลกรรมการฝ่ายข้างน้อย ไว้ให้ปรากฏในเรื่องนั้นด้วย
 

5.
ทุกข้อเป็นหลักการในการวินิจฉัย ปัญหาในรูปและคณะกรรมการ
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5


คำถามข้อ ที่ 25. ข้อใด มิได้เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าใน เชิงภารกิจของรัฐ

1.
การจัดทำบัญชีต้นทุนในการบริการ สาธารณะ
 

2.
การกำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จของ ภารกิจ
 

3.
การกำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาใน การจัดซื้อจัดจ้าง
 

4.
 การสั่งราชการโดยปกติทำให้โดย ลายลักษณ์อักษร
 

5.
2 และ 4
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 2



คำถามข้อ ที่ 26. การกระจายอำนาจ การตัดสินใจมุ่งผลให้เกิดในเรื่องใด

1.
ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ
 

2.
ลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ
 

3.
 ความสะดวกและรวดเร็วในการ บริการประชาชน
 

4.
2 และ 3
 

5.
1 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 3


คำถามข้อ ที่ 27. ส่วนราชการจะต้องจัดแผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลาการดำเนินใน การปฏิบัติงานด้านใดเปิดเผยไว้ ณ ที่ทำการของส่วนราชการและระบบเครือข่ายสารสนเทศ

1.
การบริการประชาชน
 

2.
การติดต่อประสานงานกับส่วน ราชการด้วยกัน
 

3.
การจัดซื้อจัดจ้าง
 

4.
1 และ 2
 

5.
 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 4


คำถามข้อ ที่ 28. การจัดตั้งศูนย์บริหารร่วม เป็นหน้าที่ของใคร

1.
หัวหน้าส่วนราชการ
 

2.
ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ
 

3.
ปลัดกระทรวง
 

4.
1 และ 2
 

5.
2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5


คำถามข้อ ที่ 29. การปรับปรุง ภารกิจอำนาจหน้าที่โครงสร้างและอัตรากำลังส่วนราชการเป็นไปโดย

1.
ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
 

2.
พระราชบัญญัติ
 

3.
พระราชกฤษฎีกา
 

4.
กฎกระทรวง
 

5.
ระเบียบกระทรวง
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 1



คำถามข้อ ที่ 30. เมื่อมีการยุบเลิก โอน หรือรวมส่วนราชการใดทั้งหมดหรือบางส่วนห้ามมิให้จัดตั้งส่วนราชการที่มี ภารกิจและอำนาจหน้าที่ ที่มีลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันกับส่วนราชการดังกล่าวขึ้นอีก เว้นแต่....
1.
มีการเปลี่ยนแปลงแผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน
 

2.
มีเหตุผลจำเป็นเพื่อรักษาความ มั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ
 

3.
1 และ 2
 

4.
1 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 3



คำถาม ข้อที่ 31. ข้อควรคำนึงที่สำคัญของการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ให้ทันสมัย และเหมาะสมกับสถานการณ์ คือ

1.
ความสะดวก รวดเร็ว และลดภาระของประชาชน
 

2.
การพัฒนาประเทศ
 

3.
 ประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจ
 

4.
การปฏิบัติตามแผนบริหารราชการ แผ่นดิน
 

5.
การรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมของ ประชาชน
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 1


คำถามข้อ ที่ 32. การแก้ไข ปรับปรุง หรือยกเลิกกฎหมาย หากส่วนราชการไม่เห็นชอบด้วยกับสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้เสนอเรื่องต่อ ............................... เพื่อวินิจฉัย

1.
คณะกรรมการร่างกฎหมายเพื่อการ พัฒนาประเทศ
 

2.
ก.พ.ร.
 

3.
คณะรัฐมนตรี
 

4.
รัฐมนตรีผู้รักษาการ
 

5.
นายกรัฐมนตรี
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 3


คำถามข้อ ที่ 33. ข้อใดมีอำนาจในการกำหนดเวลาแล้วเสร็จของงานแต่ละงานให้ส่วน ราชการถือปฏิบัติ

1.
ก.พ.ร.
 

2.
นายกรัฐมนตรี
 

3.
รัฐมนตรีเจ้าสังกัด
 

4.
คณะรัฐมนตรี
 

5.
1 และ 2
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 1


คำถามข้อ ที่ 34. เมื่อส่วนราชการได้รับการติดต่อสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชน เป็นหน้าที่ของส่วนราชการจะต้องตอบคำถามหรือแจ้งการดำเนินการให้ทราบภายใน ....................

1.
7 วัน
 

2.
15 วัน
 

3.
15 วัน และสามารถขยายได้อีก 15 วัน
 

4.
30 วัน
 

5.
30 วัน และสามารถขยายได้อีก 30 วัน
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 2


คำถามข้อ ที่ 35. ส่วนราชการจะต้องจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศในระบบเดียว กันกับหน่วยงานใด

1.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร
 

2.
ก.พ.ร.
 

3.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
 

4.
สำนักงบประมาณ
 

5.
หน่วยงานที่ ก.พ.ร. มอบหมายโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 1


คำถามข้อ ที่ 36. ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดำเนินการประเมินการ ปฏิบัติราชการของส่วนราชการที่เกี่ยวกับ

1.
ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ
 

2.
คุณภาพการให้บริการและความพึงพอ ใจของประชาชนผู้รับบริการ
 

3.
ความคุ้มค่าในภารกิจ
 

4.
1 และ 3
 

5.
1 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 3


คำถามข้อ ที่ 37. ข้อใดมิใช่หลักการที่ส่วนราชการใช้ในการประเมินภาพรวมของผู้ บังคับในแต่ละระดับ

1.
การประเมินต้องทำเป็นความลับ
 

2.
การประเมินเป็นไปเพื่อประโยชน์ แห่งความสามัคคีของข้าราชการ
 

3.
การประเมินต้องเป็นไปโดยโปร่งใส และตรวจสอบได้
 

4.
ต้องแจ้งวิธีการประเมินให้ผู้ ประเมินทราบล่วงหน้า
 

5.
3 และ 4
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5


คำถามข้อ ที่ 38. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำหลักเกณฑ์การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี อย่างน้อยต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ......................

1.
การบริหารราชการอย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
 

2.
การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
 

3.
การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง ความต้องการของประชาชน
 

4.
2 และ 3
 

5.
 1 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 4


คำถามข้อ ที่ 39. ข้อใดเป็นหลักเกณฑ์การได้มาซึ่งเงินรางวัลให้แก่ราชการ

1.
ส่วนราชการให้บริการที่มีคุณภาพ และเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
 

2.
ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรี จัดสรรเงินเพิ่มพิเศษเป็นบำเหน็จความชอบแก่ส่วนราชการ
 

3.
ให้ใช้งบประมาณเหลือจ่ายของส่วน ราชการ
 

4.
1 และ 2
 

5.
1 2 และ 3
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5


คำถามข้อ ที่ 40. เงินรางวัลเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ส่วนราชการได้มาโดย

1.
ส่วนราชการได้ดำเนินงานตามเป้า หมายสามารถเพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์
 

2.
ส่วนราชการได้ดำเนินงานตามเป้า หมายสามารถเพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์โดยไม่เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่าย
 

3.
 ส่วนราชการได้ดำเนินงานตามเป้า หมายสามารถเพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์โดยไม่เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายและคุ้มค่า ต่อภารกิจของรัฐ
 

4.
ส่วนราชการสามารถดำเนินการตาม แผนการลดค่าใช้จ่ายต่อหน่วย
 

5.
3 และ 4
 


เฉลย : คำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 5






1 ความคิดเห็น:

  1. ข้อ 16 เฉลยผิดค่ะ ตอบ 2
    หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
    มาตรา 21 ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบั่ญชีกลางกำหนด

    ตอบลบ