วันพุธที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2554

แนวข้อสอบตำรวจสายอำนวยการ 2555 พรก.ว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

พรก.หลักเกณฑ์ ว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ..2546

ชุดที่ 1

ข้อ 1 การปฏิบัติตามพระราชกฤษฏีกานี้ในเรื่องใดสมควรที่ส่วนราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใดและจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใด ให้เป็นไปเช่นใด?
. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ ก..
. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ พ...
. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ ก..
. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ พ...

ข้อ 2 ในพระราชกฤษฏีกานี้ คำว่า ส่วนราชการ หมายความว่า อย่างไร?
. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริการ รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายนิติบัญญัติ แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายนิติบัญญัติ รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ข้อ 3 “ข้าราชการ ตามพระราชกฤษฏีกานี้หมายความรวมถึงใครบ้าง?
. พนักงาน
. ลูกจ้าง
. ผู้ปฏิบัติงานในส่วนราชการ
. ถูกหมด

ข้อ 4 “รัฐวิสาหกิจ หมายความว่า อย่างไร?
. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ
. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฏีกา
. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยกฎกระทรวง
. ถูกหมดทั้ง ก.และ ข.

ข้อ 5 ใครเป็นผู้รักษาการ ตาม พระราชกฤษฏีกานี้
.นายกรัฐมนตรี
.ประธานคณะกรรมการสำนักงานพัฒนาระบบราชการไทย
.คณะรัฐมนตรี
.ปลัดกระทรวงมหาดไทย

ข้อ 6 ข้อใดเป็นการบริหารเพื่อบรรลุเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
.ถูกหมดทุกข้อ

ข้อ 7 ข้อใดผิดเรื่องของบริหารเพื่อบรรลุเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์
. ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวก และได้รับการตอบสนองความต้องการ
. มีการวางแผนเตรียมการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ

ข้อ 8 การบริหารราชการให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน หมายถึง การปฏิบัติราชการที่มีเป้าหมายเพื่ออะไรบ้าง?(ข้อใดผิด)
.เพื่อให้เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน
.เพื่อ ความสงบและปลอดภัยของสังคม ส่วนรวม
.เพื่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ดีงาม
.เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ

ข้อ 9 ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ส่วนราชการจะต้องดำเนินการโดยถือว่าประชาชนเป็นศูนย์กลางที่จะได้รับการบริการจากรัฐ และจะต้องมีแนวทางการบริหารราชการดังต่อไปนี้
. การกำหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา
. การปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการต้องเป็นไปโดยมีความซื่อสัตย์สุจริตสามารถตรวจสอบได้ และมุ่งให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น
.ก่อนเริ่มดำเนินการส่วนราชการต้องจัดให้มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีและผลเสียให้ครบถ้วนทุกด้าน
.ทุกข้อที่กล่าวมา

ข้อ 10 ข้อใดผิดหลักแนวทางการบริหารราชการการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ?
.ข้าราชการที่จะต้องคอยรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมและประชาชนผู้รับบริการ เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชา
.ส่วนราชการต้องดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนหรือชี้แจงทำความเข้าใจเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับจากภารกิจนั้น
.ในกรณีที่เกิดปัญหาและอุปสรรคจากการดำเนินการให้ส่วนราชการดำเนินการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว
.การดำเนินการตามต่าง ๆที่กล่าวมาให้ประชาชนกำหนดวิธีปฏิบัติให้เหมาะสมกับภารกิจแต่ละเรื่อง เพื่อให้มีการปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้เหมาะ

แนวข้อสอบ
พระราชกฤษฏีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
..2546

1.
การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการบัญญัติไว้ในหมวดใดของพระราชกฤษฏีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ..2546
.    หมวด  3                            . หมวด   4
.    หมวด  5                            หมวด 6
2.
หมวด 1 ของพระราชกฤษฏีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ..2546 บัญญัติไว้ด้วยเรื่องใด
ก.       การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ข.      การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ค.      การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ง.       บทเบ็ดเตล็ด
3.
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฏีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองทีดี พ..2546 คืออะไร
ก.      มีการปฏิรูประบบราชการ
ข.      เพื่อให้การปฏิบัติงานของส่วนราชการตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศ
ค.      เพื่อให้การบริการแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
       .    ถูกทุกข้อ
4.
กรณีองค์กรมหาชน หรือ รัฐวิสาหกิจใด ไม่จัดให้มีหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ผู้มีอำนาจพิจารณาสั่งการให้องค์การมหาชนหรือรัฐวิสาหกิจนั้น ดำเนินการให้ถูกต้องคือใคร
ก.      คณะรัฐมนตรี
ข.      กระทรวงมหาดไทย
ค.      รัฐมนตรีที่กำกับดูแลและองค์การมหาชนหรือรัฐวิสาหกิจ
ง.       ...







5.
หน่วยงานใดที่มีหน้าที่ดูแลและให้ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ก.      สำนักนายกรัฐมนตรี
ข.      กระทรวงมหาดไทย
ค.      คณะรัฐมนตรี
ง.       ...
6.
หน่วยงานใดต่อไปนี้ ต้องจัดให้มีหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ตามพระราชกฤษกีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ..2546
ก.      องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ข.      องค์กรมหาชน
ค.      รัฐวิสาหกิจ
ง.       ถูกทุกข้อ
7.
ผู้มีอำนาจเสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรเงินเพิ่มพิเศษหรือจัดสรรเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ส่วนราชการ คือใคร
ก.      ส่วนราชการที่ปฏิบัติงาน
ข.      คณะผู้ประเมินอิสระ
ค.      คณะรัฐมนตรี
ง.       ...
8.
ผู้มีอำนาจในส่วนราชการ จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการความคุ้มค่าในภารกิจ คือใคร
ก  องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์กรมหาชน
รัฐวิสาหกิจ
       .    ถูกทุกข้อ
9.
ส่วนราชการต้องจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง
ก.      งบประมาณรายจ่ายแต่ละปี
ข.      การจัดซื้อจัดจ้างที่จะดำเนินการในปีงบประมาณนั้น
ค.      สัญญาใด ๆ ที่ได้มีการอนุมัติให้จัดซื้อหรือจัดจ้างแล้ว
ง.       ถูกทุกข้อ


10.
การอำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่ประชาชนในการติดต่อกับส่วนราชการ ทุกแห่งส่วนราชการใดต้องจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศกลางขึ้น
ก.      กระทรวง ทบวง กรม
ข.      จังหวัด อำเภอ
ค.      กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ง.       ถูกทั้งข้อ ก และ ข
11.
ส่วนราชการใดได้รับการติดต่อสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชนหรือจากส่วนราชการด้วยกัน มีหน้าที่ต้องตอบคำถามหรือแจ้งการดำเนินการให้ทราบภายในกี่วัน
ก.       15 วัน
ข.      10 วัน
ค.      5 วัน
ง.       20 วัน
12.
ผู้มีหน้าที่แจ้งให้ประชาชนที่มาติดต่อได้ทราบในครั้งแรกที่มาติดต่อและตรวจสอบว่าเอกสารหลักฐานที่จำเป็นนั้นประชาชนได้ยื่นมาครบถ้วนหรือไม่ คือใคร
ก.      ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
ข.      อธิบดี
ค.      ปลัดกระทรวง
       .    เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการร่วม
13.
ผู้มีหน้าที่จัดให้ส่วนราชการภายในกระทรวงจัดตั้งศูนย์บริการร่วม เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการที่จะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย คือใคร
ก.      รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ข.      รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
ค.      ปลัดกระทรวง
ง.       ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข

14.
กรณีผู้บังคับบัญชาสั่งราชการด้วยวาจา ผู้รับคำสั่งจะต้องปฏิบัติอย่างไร
ก.      รีบปฏิบัติราชการตามคำสั่ง
ข.      บันทึกคำสั่งด้วยวาจาเป็นลายลักษณ์อักษร
ค.      แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาสั่งการเป็นลายลักษณ์อักษร
ง.       ถูกทั้ง ข และ ค


15.
พระราชกฤษฏีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ..2546 กำหนดเรื่องการสั่งราชการได้อย่างไร
ก.      ปกติให้กระทำเป็นลายลักษณ์อักษร
ข.      กรณีมีความจำเป็นที่ไม่อาจสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรในขณะนั้น จะสั่งราชการด้วยวาจาก็ได้
ค.      สั่งราชการด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษรก็ได้แล้วแต่ความสะดวกของผู้บังคับบัญชา
        .    ถูกทั้ง ก และ ข
16.
การจัดซื้อจัดจ้าง ให้ส่วนราชการดำเนินโดยเปิดเผยและเที่ยงธรรม โดยพิจารณาถึงอะไรบ้าง
ก.      ประโยชน์และผลเสียทางสังคม
ข.      ภาระต่อประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค์ที่จะใช้
ค.      ราคา และประโยชน์ระยะยาวของส่วนราชการ
       .    ถูกทุกข้อ
17.
หน่วยงานใดมีหน้าที่จัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรี
ก.      คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ข.      สำนักงบประมาณ
ค.      กรมบัญชีกลาง
       .    ถูกทั้ง ก และ ข 
18.
ส่วนราชการต้องคำนวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะที่อยู่ในความรับผิดชอบรายงานต่อหน่วยงานใด
ก.      สำนักงบประมาณ
ข.      ...
ค.      กรมบัญชีกลาง
       .    ถูกทุกข้อ                    
19.
หน่วยงานใดที่มีหน้าที่กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะให้ส่วนราชการปฏิบัติ
ก.      สำนักงบประมาณ
ข.      คณะรัฐมนตรี
ค.      กรมบัญชีกลาง
       .     กระทรวงการคลัง    


20.
หน่วยงานใดมีหน้าที่กำหนดแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ
ก.      สำนักงบประมาณ
ข.      ...
ค.      คณะรัฐมนตรี
ง.        ถูกทั้งข้อ ก และ ข
21.
...คืออะไร
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
กองพัฒนาราชการ
. กรมพัฒนาระบบราชการ
22.
...มีคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน
. 9 คน
. 10 คน
. 11 คน
. 12 คน
23.
ข้อใดไม่ใช่ ส่วนราชการ ตามความหมายใน พรฏ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ..2546
. กระทรวง
. ทบวง
. กรม
. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
24.
ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายในการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
. ภาพพจน์ที่ดีในสายตาต่างประเทศ
. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ






25.
การบริการกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมายกี่ประเภท
. 5 ประเภท
. 6 ประเภท
. 7 ประภท
. 8 ประเภท
26.
ข้อใดไม่ใช่ความหมายของการบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
. ความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน
. ความสงบและความปลอดภัยของสังคมส่วนรวม
. ประโยชน์สูงสุดของประเทศ
. ขวัญและกำลังใจข้าราชการ
27.
ข้อใดไม่ใช่การบริหารราชการโดยถือประชาชนเป็นศูนย์กลาง
. ก่อนดำเนินการส่วนราชการต้องจัดให้มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีผลเสีย
. การปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการต้องเป็นไปโดยซื่อสัตย์สุจริต
. รับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยส่วนรวม
. ต้องรายงานผลการปฏิบัติต่อรัฐสภาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
28.
เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนรากชาร
. ปรึกษาหารือกัน
. บริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน
. ประสานแผนกัน
. สัมมนาร่วมกัน
29.
การบริหารแบบบูรณาการร่วมกันมุ่งให้เกิด
. ประโยชน์สุขของประชาชน
. ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
. ประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
30.
การจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ต้องเสนอต่อ ครม.ภายในกี่วันนับตั้งแต่วันที่ ครม.แถลงนโยบายต่อรัฐสภา
. 90 วัน
. 120 วัน
. 30 วัน
. 40 วัน
31.
ในการจัดทำแผนการบริหาราชการแผ่นดินให้จัดทำเป็นแผนกี่ปี
. 1 ปี
. 2 ปี
. 4 ปี
. 5 ปี
32.
เมื่อมีกาปรระกาศใช้บังคับแผนบริหารราชการแผ่นดินแล้ว ให้ สนง.คณะกรรมการ
กฤษฏีกาและสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีร่วมกันพิจารณาจัดทำแผน
. นิติรัฐ
. นิติบัญญัติ
. พัฒนากฎหมาย
. นิติธรรม
33.
ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของส่วนรากชารให้จัดทำทุก
. ปีงบประมาณ
. ปีปฏิทิน
. 6 เดือน
. 3 เดือน
34.
ในกรณีที่ส่วนราชการได้เสนอแผนปฏิบัติรากชารในภารกิจใจ หรือภารกิจใดไม่ได้รับความเห็นชอบจาก ร...
. ให้สำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณสำหรับภารกิจนั้น
. ให้ลงโทษทางวินัยแก่ผู้รับผิดชอบ
. ให้ กพร. แจ้งให้ดำเนินการโดยทันที
. ให้ กพร.แจ้งให้ดำเนินการภายใน 30 วัน
35.
ให้ส่วนราชการจัดทำ...................ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทชั้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด
. ต้นทุน
. บัญชี
. บัญชีต้นทุน
. บัญชีทุน






36.
ในการกระจายอำนาจการจัดสินใจ
. การบริหารแบบมีส่วนร่วม
. เกิดขวัญและกำลังใจในการทำงาน
. การทำงานเป็นทีม
ความสะดวกและรวดเร็วในการบริการประชาชน
37.
ในกระทรวงหนึ่ง ให้เป็นหน้าที่ขอปลัดกระทรวงที่จะต้องให้ส่วนราชการภายในกระทรวง
รับผิดชอบ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริการประชาชนร่วมกันจัดตั้ง
. ศูนย์ประสานราชการ
. ศูนย์บริการร่วม
. ศูนย์รับเรื่อง
. ศูนย์บริการประชาชน
38.
กรณีใด มิใช่ กรณีที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่การปฏิบัติราชการ ต้องกำหนดปํนความลับได้เท่าที่จำเป็น
. ความมั่นคงของประเทศ / เศรษฐกิจ
. ความมั่นคงของรัฐ
. การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
. การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล
39.
ข้อใดไม่ใช่ ให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะกรรมการประเมินอิสระ ดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ ดังต่อไปนี้
. ภารกิจคุณภาพการให้บริการ
. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ
. ความคุ้มค่าในภารกิจ
. ความพึงพอใจของข้าราชการ
40.
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการ ให้เกิดผลสัมฤทธ์ ก... อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดมาตรการกำกับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการใด
. จัดทำความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร
. การประเมินคุณภาพ
. การตรวจสอบภายใน
. การประเมินตนเอง




41.
 เมื่อสิ้นปีงบประมาณส่วนราชการต้องจัดทำรายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติราชการเสนอต่อผู้ใด
กระทรวงการคลัง
. สำนักงบประมาณ
. คระรัฐมนตรี
. กรมบัญชีกลาง
42.
หน่วยงานใดมีหน้าที่จัดสรรงบประมาณให้ส่วนราชการ เพื่อปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติราชการ ที่รัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว
ก.      กระทรวงการคลัง
ข.      สำนักงบประมาณ
ค.      คณะรัฐมนตรี
       กรมบัญชีกลาง
43.
ส่วนราชการมีหน้าที่จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีในแต่ละปีงบประมาณเสนอต่อผู้ใดเพื่อให้ความเห็น
ก.      รัฐมนตรี
ข.      คณะรัฐมนตรี
ค.      ปลดักระทรวง
     .    อธิบดี
44.
แผนนิติบัญญัติเป็นแผนเกี่ยวกับเรื่องใด
ก.      กฎหมายที่จะต้องจัดให้มีขึ้นใหม่
ข.       กฎหมายที่ต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติม
ค.       กฎหมายที่ต้องยกเลิก
      .    ถูกทุกข้อ
45.
เมื่อมีการประกาศใช้บังคับแผนการบริหารราชการแผ่นดินแล้ว ใครเป็นผู้มีอำนาจจัดทำแผนนิติบัญญัติ
. คณะกรรมการกฤษฏีกา
. สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
. คณะรัฐมนตรี
. ถูกทั้ง ก และ ข
46.
การจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดินให้จัดทำเป็นแผนระยะเวลากี่ปี
. 4   ปี                             .  5 ปี
8.  6  ปี                              ง.  8  ปี

47.
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว มีผลผูกพันใครบ้าง
คณะรัฐมนตรี
. รัฐมนตรี
. ส่วนราชการ
. ถูกทุกข้อ
48.
ผู้มอำนาจให้ความเห็นชอบแผนการบริหารราชการแผ่นดิน คือใคร
. คณะรัฐมนตรี
. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
. สำนักงบประมาณ
. ถูกทุกข้อ
49.
เมื่อคณะรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาพแล้ว ส่วนราชการใด มีหน้าที่จัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดินเสนอคณะรัฐมนตรีภายใน 90 วัน
. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีและสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการและเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
. สำนักงบประมาณ
. ถูกทุกข้อ
50.
ผู้มีอำนาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดมาตรฐานกำกับการปฏิบัติราชการคือใคร
. ส่วนราชการทุกส่วนราชการ
. ...
. คณะรัฐมนตรี
. ถูกทั้งข้อ ข และ ค.


แนวข้อสอบนี้ การเฉลยบางข้ออาจไม่ตรงกัน อยากแนะนำว่า ให้อ่าน พรก. ทั้งหมด แล้วหาคำตอบในพรก. มาตอบ เพราะว่าข้อสอบจะมีอยู่ในเนื้อหาทั้งหมด เพราะจากที่ไปสอบมา ข้อสอบจะอยู่ใน มาตรา ทั้งนั้น ลองทำตามดูนะคะ เนื้อหา พรก.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี  คลิ๊ก !!!

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น